Latest โรงเรียนดูดาว News

คู่มือ การสร้างระบบขับเคลื่อนของจรวดประดิษฐ์  อุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตดินขับน้ำตาล การประดิษฐ์จรวดเชื้อเพลิงน้ำตาล

จรวด คือ ยานพาหนะที่สามารถสร้างแรงขับดัน (Thrust) เพื่อการเดินทางขึ้นสู่อวกาศได้ โดยมีจุดประสงค์ที่หลากหลาย ได้แก่ การส่งยานอวกาศไปยังดาวเคราะห์อื่น ๆ การส่งดาวเทียมไปโคจรรอบโลก ...

กิจกรรมประดิษฐ์จรวดเชื้อเพลิงน้ำตาล (Sugar Rocket Workshop) และการติดตั้งอุปกรณ์รับสัญญาณดาวเทียม

  9-11 สิงหาคม 2567 : กิจกรรมประดิษฐ์จรวดเชื้อเพลิงน้ำตาล และการติดตั้งอุปกรณ์รับสัญญาณดาวเทียม โดยวิทยากรศูนย์ LESA สำหรับนักเรียนและครูที่ปรึกษาจากโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ...

กิจกรรมบั้งไฟแคนแซท (CANSAT AND ROCKET WORKSHOP) สำหรับนักเรียน จ.ภ.บุรีรัมย์ ยิงบั้งไฟปล่อยดาวเทียมตรวจวัดสภาพอากาศ

10-12 พฤษภาคม 2567 : กิจกรรมบั้งไฟแคนแซท (CANSAT and Rocket Workshop) สำหรับนักเรียนโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย บุรีรัมย์ ณ โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย บุรีรัมย์, ปราชญ์ผลิตบั้งไฟเล็ก ...

กิจกรรมปฏิบัติการเฝ้าระวังทางอวกาศ (SPACE SITUATIONAL AWARENESS WORKSHOP) สำหรับนักเรียน จ.ภ.บุรีรัมย์

22-27 มีนาคม 2567 : กิจกรรมปฏิบัติการเฝ้าระวังทางอวกาศ (Space Situational Awareness Workshop) สำหรับนักเรียนโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย บุรีรัมย์ ณ บ้านไร่ยายชะพลู อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี  เนื้อหาการเรียนรู้ 1. ...

กิจกรรมปฏิบัติการติดตามดาวเทียมและวัตถุอวกาศ (SATELLITE TRACKING WORKSHOP) สำหรับนักเรียน จ.ภ.บุรีรัมย์

9-14 มีนาคม 2567 : กิจกรรมปฏิบัติการติดตามดาวเทียมและวัตถุอวกาศ (Satellite Tracking Workshop) สำหรับนักเรียนโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย บุรีรัมย์ ณ หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ สถานีรายงานดอยอินทนนท์ ...

แคนแซท (CANSAT) ดาวเทียมกระป๋อง ดาวเทียมประดิษฐ์ อย่างง่าย ความสำคัญของดาวเทียมกระป๋อง

แคนแซท (CanSat) หรือ ดาวเทียมกระป๋อง ใช้จำลองการทำงานของดาวเทียมจริง โดยมีจุดประสงค์เพื่อใช้ในการเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางด้านอวกาศ มีขนาดเล็กประมาณกระป๋องน้ำอัดลม ...

TWO-LINE ELEMENT (TLE) ตำแหน่งดาวเทียม และวัตถุที่โคจรรอบโลก ในรูปแบบของกลุ่มตัวเลขเรียงกันสองบรรทัด

US Space Force จัดทำ Satellite Catalog (SATCAT) เผยแพร่ตำแหน่งของดาวเทียมและวัตถุที่โคจรรอบโลก ในรูปแบบของกลุ่มตัวเลขเรียงกันสองบรรทัด ซึ่งเรียกว่า Two-Line Element Set หรือ TLE บนเว็บไซต์ SPACE-TRACK.ORG ดังแสดงในภาพด้านล่าง ...